|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชาวไทยพวน มีลักษณะนิสัย
เอื้ออาทร รักความสงบ มีวัฒนธรรมประเพณี ภาษา การละเล่น
พื้นเมืองที่มีเอกลักษณ์ประจำท้องถิ่นอย่างเด่นชัด ตั้งบ้านเรือนอยู่รวมเป็นชุมชนเดียวกัน เรียกชื่อว่า “บ้านกล้วย” ทั้ง 5 หมู่บ้าน ในพื้นที่มีแหล่งน้ำแหล่งปลูกข้าวที่อุดมสมบูรณ์ การคมนาคมสะดวก
(มีคลองชลประทานและทางหลวงแผ่นดิน ตัดผ่านกลางตำบล) |
|
|
|
|
|
สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีคลองชลประทานชัยนาท-ป่าสัก (อนุศาสนนันท์) ผ่านกลางพื้นที่ตำบลจากทิศเหนือจรด ทิศใต้ ยาวประมาณ 9,300 เมตรย |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
วัด |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
ได้แก่ วัดกัทลีพนาราม (วัดบ้านกล้วย) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
โรงเรียนประถมศึกษา |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
(โรงเรียนบ้านกล้วย) |
|
โรงเรียนเอกชน |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
(โรงเรียนสุเทพวิทยาลัย) |
|
การศึกษานอกโรงเรียน |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน |
|
|
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง |
|
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
|
|
ตำบลบ้านกล้วย มีการคมนาคมทางบกที่สะดวก ดังนี้ |
|
ถนนลาดยาง เป็นถนนสายหลักที่ตัดผ่านตำบล คือทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข 3196 เลียบคลองชลประทานชัยนาท-ป่าสัก
(อนุศาสนนันท์) และ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 สาย
อำเภอบ้านหมี่-อำเภอโคกสำโรง |
|
ถนน คสล. เป็นถนนภายในหมู่ที่เป็นเส้นทางคมนาคม
เชื่อมต่อกันอย่างทั่วถึงทุกหมู่บ้าน่ |
|
ถนน ถนนหินคลุก/ลูกรัง ส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่ในเขตชลประทาน ประกอบด้วย ถนนเลียบคลองชลประทาน 2 สาย และถนนเลียบคลองส่งน้ำทางเข้าหมู่บ้านศรีวิชัย 1 สาย |
|
|
|
|
|